วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

สมองกลีบข้าง (Parietal lobe)

ภาพแสดง: Parietal lobe
ที่มา: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Parietal_lobe_-_animation.gif
        สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559
        อยู่ทางด้าน dorsolateral surface จะอยู่ระหว่าง central
sulcus และเส้นสมมุติที่ลากผ่านจาก parieto-occipital fiffure
ไปยัง pre-occipital notch ส่วนขอบเขตทางด้านล่างคือ lateral
sulcus กับเส้นที่ลากต่อไปประมาณตอนกลางของเส้นสมมุติเส้นแรก 
มีหน้าที่รับรู้การสัมผัส การเจ็บร้อนเย็น จากร่างกายซีกตรงข้าม ถ้าผิดปกติ
จะมีการชาด้านตรงข้ามกับสมองที่มีปัญหา


ภาพแสดง: ขอบเขตของ Parietal lobe
ที่มา: http://slideplayer.com/slide/4280841/
       สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559
 

Parietal lobe  แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ

1.Post central gyrus

       เป็นบริเวณที่มีหน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นของการรับ “ความรู้สึก”

(sensory) จากร่างกายมาเริ่มแปลในสมอง มีหลายชื่อได้แก่

*      Primary sensory area

*      Postcentral gyrus

*      Brodmann’s area 312

ภาพแสดง: Post central gyrus

ที่มา:  http://scienceblogs.com/thoughtfulanimal/2010/06/30/ask-a-scienceblogger-sensation/
        สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559

       พยาธิสภาพส่วนนี้ทำให้เกิดการสูญเสียการรับสัมผัส การสั่น
สะเทือนและการเคลื่อนไหวของร่างกายซีกตรงข้าม
      ภาพแสดง: Somatosensory Map
      ที่มา : http://alinenewton.com/neuroscience-of-touch-touch-and-the-brain/
              สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559

2. Superior parietal lobule 


    มีหลายชื่อได้แก่

*      parietal association area

*      Brodmann’s area 5,7

       คือคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายสัมพันธ์ (somatosensory

association cortex) ซึ่งประสานข้อมูลความรู้สึกจากคอเทกซ์รับ

ความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ (รวมทั้งอุณหภูมิและแรงกดเป็นต้น) เพื่อที่จะ

สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุที่กำลังสัมผัส

       พยาธิสภาพของบริเวณนี้ทำให้ เกิด astreognosis และ

neglect syndrome เป็นความผิดปกติของการรับรู้ส่วนต่างๆ ของร่าง

กายซีกตรงข้ามและสิ่งรอบๆตัว ผู้ป่วยอาจจะสามารถสัมผัสและรับสัมผัส

ของสิ่งของ แต่ไม่สามารถบอกได้สิ่งของนั้นคือ อะไร หรือถ้าเกิดพยาธิ

สภาพที่ซีกซ้ายของสมอง ผู้ป่วยจะไม่ใส่ใจร่างกายซีกขวา เป็นต้น


ภาพแสดง: Superior parietal lobule 
ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Gray726_superior_parietal_lobule.png
        สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559

3.  Inferior parietal lobule


     ประกอบด้วย

     Angular gyrus /Brodmann’s area 39

        เป็นเขตสมองที่มีบทบาทในการประมวลผลเกี่ยวกับภาษา การ

ประมวลผลเกี่ยวกับตัวเลข การรู้จำปริภูมิ (spatial cognition) การ

ค้นคืนความจำ ความใส่ใจ และการรู้จักตนและผู้อื่น

ภาพแสดง: Brodmann’s area 39
ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Animations_using_BodyParts3D_
polygon_data สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559

        Supramarginal gyrus  หรือ Brodmann’s area 40
 
        มีบทบาทในการรักรู้และการประมวลผลทางภาษา รอยโรคในสมอง

เขตนี้อาจทำให้เกิดภาวะเสียการสื่อความศูนย์รับความรู้สึก (Receptive

aphasia) หรือ trascortical sensory ถ้ามีพยาธิสภาพจะเกิดภาวะ

aphasia คืออ่านไม่เข้าใจความหมาย สะกดตัวหนังสือไม่ออก อ่านไม่ออก

(Alexia) ผู้ป่วยอ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจความหมายของคำ



     ภาพแสดง: Brodmann’s area 40
     ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Animations_using_BodyParts3D_
     polygon_data สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559


   เส้นเลือดที่มาเลี้ยง


       1.  Anterior cerebral artery

       2.  Middle cerebral artery







       


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น